![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhu6ZWbbltJKJpla6j4YCYL5LQfyLQ5sNgY-fXUBBALwLtJGxhLVFR42nfJdNr_8W31Fdfx_MRjsX1_T9GN2209ZqPSzlMi5VbOiVdiEbcvUg7VZDc-q099942RGZQB8XV8kIE-p4vKMFU/s400/his02.jpg)
วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
BUTTERFLY GOLD ผีเสื้อทอง
ลูกกวางชื่อใบเงิน
- ใบเงินเป็นลูกกวางที่พัดหลงจากแม่หรือสันนิฐานอีกอย่างแม่คงถูกนายพรานล่าเอาเนื้อไปขายแล้วแม่ของใบเงินอาจตายแล้ว
ภาวะน้ำท่วมฉับพัน
สถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ปี พ.ศ.๒๕๕๔ สำหรับประเทศไทยความเสียหายคิดเป็นมูลค่าหลายแสนล้านบาทน่าจะทำให้คนไทยทุกคนได้คิดได้ทำเกี่ยวกับการปลูกหรือการเพิ่มพื้นที่ป่าเพื่อตัวเราเองและลูกหลานประชาชนคนไทยในอนาคต
ภาวะขาดน้ำ
ซึ่งขณะนี้เราประสบสถานการณ์นี้บ้างแล้ว ยังมีพืชอีกมากมายที่จักสูญพันธุ์(สัตว์ด้วย)
เนื่องจากระบบนิเวศน์ถูกทำลาย
เรามีทรัพยากรพืชมากมายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีประโยชน์ มากกว่า 6,200 ชนิด ที่ผ่านการวิจัยแล้วตามโครงการ PROSEA รวม 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย เวียดนาม อินโดนีเชีย ฟิลิปปินส์ มาเลเชีย ปาปัวนิวกินี (สืบค้นข้อมูลได้จากสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ตามโครงการ PROSEA )
เสียเวลาอันมีค่าสักนิดด้วยการปลูกต้นไม้ยืนต้นปีละสิบต้นต่อคนเถิดนะครับลูกหลานในอนาคตคงขอบคุณบรรพชน
ประโยชน์ของดินเหนียว
■ด้านการเกษตร
■เหมาะสำหรับการทำนา ปลูกข้าว แต่ไม่เหมาะสำหรับพืชชนิดอื่น
■ด้านศิลปะ
■ใช้ในการทำเครื่องปั้นดินเผา ทำภาชนะ เครื่องใช้ต่าง ๆ
■ใช้ขึ้นรูปในงานปั้น สร้างผลงานทางด้านประติมากรรม
■ด้านวิศวกรรม
■ใช้เป็นส่วนประกอบในการทำอิฐ
■ใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง แกนดินเหนียวสำหรับเขื่อนดิน และเขื่อนหินทิ้ง
■ใช้เป็นวัสดุดิบในการผลิตเซรามิก เพื่อใช้ในงานวิศวกรรมและอุตสาหกรรม
ป่าไม้เป็นแหล่งคุ้มครองป้องกัน
ภัยให้กับมนุษย์ และเป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์
มีความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งอาหาร
ยารักษาโรค และน้ำสะอาด และมีบทบาทสำคัญ
ในการรักษาความสมดุลของภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบทั้งหมดนี้มีส่วนร่วมในการสื่อความหมาย
ว่าป่าไม้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของ
มนุษย์กว่า ๗ พันล้านคนทั่วโลก
ภัยให้กับมนุษย์ และเป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์
มีความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งอาหาร
ยารักษาโรค และน้ำสะอาด และมีบทบาทสำคัญ
ในการรักษาความสมดุลของภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบทั้งหมดนี้มีส่วนร่วมในการสื่อความหมาย
ว่าป่าไม้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของ
มนุษย์กว่า ๗ พันล้านคนทั่วโลก
ข้าฯ พระพุทธเจ้าขอเดินตามพ่อ
นายฐสิงฐ์ธนชาติ มากตะคุ
leonationworld@gmail.com
leonationworld
Forestation for plantfoods for soils for water for air for earth
Forests can be found in all regions capable of sustaining tree growth,
at altitudes up to the tree line, except where natural fire frequency or
other disturbance is too high, or where the environment has been
altered by human activity.
The latitudes 10° north and south of the Equator are mostly covered in
tropical rainforest, and the latitudes between 53°N and 67°N have boreal
forest. As a general rule, forests dominated by angiosperms (broadleaf
forests) are more species-rich than those dominated by gymnosperms
(conifer, montane, or needleleaf forests), although exceptions exist.
Forests sometimes contain many tree species within a small area (as in
tropical rain and temperate deciduous forests), or relatively few
species over large areas (e.g., taiga and arid montane coniferous
forests). Forests are often home to many animal and plant species, and
biomass per unit area is high compared to other vegetation communities.
Much of this biomass occurs below ground in the root systems and as
partially decomposed plant detritus. The woody component of a forest
contains lignin, which is relatively slow to decompose compared with
other organic materials such as cellulose or carbohydrate.
Forests are differentiated from woodlands by the extent of canopy
coverage: in a forest, the branches and the foliage of separate trees
often meet or interlock, although there can be gaps of varying sizes
within an area referred to as forest. A woodland has a more continuously
open canopy, with trees spaced further apart, which allows more
sunlight to penetrate to the ground between them
Among the major forested biomes are:
rain forest (tropical and temperate)
taiga
temperate hardwood forest
tropical dry forest
Forests can be classified in different ways and to different degrees of
specificity. One such way is in terms of the "biome" in which they
exist, combined with leaf longevity of the dominant species (whether
they are evergreen or deciduous). Another distinction is whether the
forests composed predominantly of broadleaf trees, coniferous
(needle-leaved) trees, or mixed.
Boreal forests occupy the subarctic zone and are generally evergreen and
coniferous.
Temperate zones support both broadleaf deciduous forests (e.g.,
temperate deciduous forest) and evergreen coniferous forests (e.g.,
Temperate coniferous forests and Temperate rainforests). Warm temperate
zones support broadleaf evergreen forests, including laurel forests.
Tropical and subtropical forests include tropical and subtropical moist
forests, tropical and subtropical dry forests, and tropical and
subtropical coniferous forests.
Physiognomy classifies forests based on their overall physical structure
or developmental stage (e.g. old growth vs. second growth).
Forests can also be classified more specifically based on the climate
and the dominant tree species present, resulting in numerous different
forest types (e.g., ponderosa pine/Douglas-fir forest).
A number of global forest classification systems have been proposed, but
none has gained universal acceptance.[5] UNEP-WCMC's forest category
classification system is a simplification of other more complex systems
(e.g. UNESCO's forest and woodland 'subformations'). This system divides
the world's forests into 26 major types, which reflect climatic zones
as well as the principal types of trees. These 26 major types can be
reclassified into 6 broader categories: temperate needleleaf; temperate
broadleaf and mixed; tropical moist; tropical dry; sparse trees and
parkland; and forest plantations. Each category is described as a
separate section below.
Temperate needleleaf
Temperate needleleaf forests mostly occupy the higher latitude regions
of the northern hemisphere, as well as high altitude zones and some warm
temperate areas, especially on nutrient-poor or otherwise unfavourable
soils. These forests are composed entirely, or nearly so, of coniferous
species (Coniferophyta). In the Northern Hemisphere pines Pinus, spruces
Picea, larches Larix, silver firs Abies, Douglas firs Pseudotsuga and
hemlocks Tsuga, make up the canopy, but other taxa are also important.
In the Southern Hemisphere most coniferous trees, members of the
Araucariaceae and Podocarpaceae, occur in mixtures with broadleaf
species that are classed as broadleaf and mixed forests.
Temperate broadleaf and mixed
Temperate broadleaf and mixed forests include a substantial component of
trees in the Anthophyta. They are generally characteristic of the
warmer temperate latitudes, but extend to cool temperate ones,
particularly in the southern hemisphere. They include such forest types
as the mixed deciduous forests of the USA and their counterparts in
China and Japan, the broadleaf evergreen rain forests of Japan, Chile
and Tasmania, the sclerophyllous forests of Australia, Central Chile,
the Mediterranean and California, and the southern beech Nothofagus
forests of Chile and New Zealand.
FOOD,HUNGER,AND NUTRITION
The battle to feel all of humanity is over.In the 1970s
the world will undergo famines-hundreds of million of people are going
to starve to death in spite of any crash programs embarked upon now.At
this late date nothing can prevent a substantial increase in the world
death rate,although many lives could be saved through dramatic programs
to stretch the carrying capacity of the earth by increasing food
production.But theseprograms will only provide a stay of execution
unless they are accompanied by determined and successful efforts at
population control.
Properly managed, the earth more fertile lands and its
forests could meet everyone food and wood
needs abundantly and indefinitely.The persistent undernourishment of
some half a billion people today does not stem from a global scarcity of
resources;even
as tens of thousands of babies die each day from diseases exacerbated by
malnutrition, over one third of
the world grain is fed to livestock to supply the meat-diet of the
affluent.
![](http://img1.blogblog.com/img/icon18_wrench_allbkg.png)
soils (ดิน)
Today!s headlines focus on two major interactive international
problems:widespread hunger and malnutrition, and the deterrioration of
the quality of the environment resulting from attempts to alleviate this
hunger and malnutrition.The quality,management,and
conservation of the world soils are critical elements in each of these
problems as well as in their solution.
Soil productivity helps determine how much food and fiber can
be provided for the world ever- increasing human population.Some soils
are naturally productive,others are not.Some reapond to wise cultural
management and can be made more productive. Others will not so respond
and could best be left in their native state with natural grass or
forest vegetation.In any case,however,without some knowledge of the
nature and properties of soil,it is not possible to predict soil quality
in a given area or to know how soils should be managed and conserved.
The world population explosion of this century presents humankind with
one of its most complex challenges.This challenge is greatest in the
lowincome countries of the world where the bulk of 90 million annual
population increase is occrring. To feed an increase of population
equivalent every three years to the entire population of the United
States will tax the world ingenuity and determination.
It is in the developing countries and especially AFRICA where the challenge is most severe.The conservation and improvement of soils is one of the keys to meeting this challenge. Soil and crop management systems must be developed and adapted to increase food production and simultaneously prevent soil deterioration. Soil scientists will play a key role in developing these systems.
Soil scientists must also gain greater knowledge of the characteristics and potential of arable but uncultivated lands. This knowledge will be used in determining the extent to which new lands should be borught into agricultural production to help meet the world food demands.
There is potential for the world to produce adequate food for current and
future generations.Whether this potential will be reached will depend in part on the
wisdom that is used in managing and conserving soils.This wisdom will be based largely on the service of dedicated soil scientists around the world
It is in the developing countries and especially AFRICA where the challenge is most severe.The conservation and improvement of soils is one of the keys to meeting this challenge. Soil and crop management systems must be developed and adapted to increase food production and simultaneously prevent soil deterioration. Soil scientists will play a key role in developing these systems.
Soil scientists must also gain greater knowledge of the characteristics and potential of arable but uncultivated lands. This knowledge will be used in determining the extent to which new lands should be borught into agricultural production to help meet the world food demands.
There is potential for the world to produce adequate food for current and
future generations.Whether this potential will be reached will depend in part on the
wisdom that is used in managing and conserving soils.This wisdom will be based largely on the service of dedicated soil scientists around the world
วิธีการรักษาหรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน
วิธีการรักษาหรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินทำได้ดังนี้
๑. เพิ่มอินทรียวัตถุ เศษเหลือจากพืช เช่น หญ้าแห้ง กิ่งไม้ใบไม้ และปุ๋ยพืชสด รวมทั้งเศษเหลือจากสัตว์ อินทรียวัตถุเหล่านี้จะไปช่วยทำให้คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดินดีขึ้น ทำให้ดินร่วนซุยสามารถดูดซับน้ำได้มากขึ้น ส่วนจุลินทรีย์ในดินจะช่วยให้อินทรียวัตถุต่างๆ เหล่านี้สลายตัวเป็นธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์แก่พืชต่อไป
๒. การเพิ่มปุ๋ยพืชสด โดยการไถพรวนพืชสดๆ ทับลงไปในดิน ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มแร่ธาตุจากพืชสดเพื่อเป็นอาหารแก่ดิน
๓. การใช้ซากและเศษเหลือจากสัตว์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุต่างๆ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ซัลเฟอร์ เป็นต้น อันจะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ดีขึ้น
๔. การใช้ระบบการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อช่วยให้ดินคงความอุดมสมบูรณ์อยู่ได้
๕. การใช้ปูนขาว เพื่อให้ธาตุแคลเซียมซึ่งเป็นอาหารชนิดหนึ่งที่จำเป็นต่อพืช และยังเป็นตัวช่วยลดความเป็นกรดและปรับปรุงคุณสมบัติอื่นๆ ของดินได้ดีอีกด้วย
๖. การรักษาธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ในดิน การรักษาธาตุไนโตรเจนในดิน ทำได้โดยการปลูกพืชตระกูลถั่วไว้คอยตรึงไนโตรเจนจากอากาศ และทำการไถพรวนเป็นปุ๋ยพืชสด อันจะช่วยเพิ่มไนโตรเจนให้แก่ดินได้อย่างดี ส่วนฟอสฟอรัส พืชมักจะใช้ในรูปของซูเปอร์ฟอสเฟต สำหรับโพแทสเซียมรักษาให้คงอยู่ได้ ด้วยการปลูกพืชให้ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพื่อป้องกันการชะล้าง และควรใช้ปุ๋ยที่ให้โพแทสเซียมโดยตรง
วิธีการรักษาหรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินทำได้ดังนี้
๑. เพิ่มอินทรียวัตถุ เศษเหลือจากพืช เช่น หญ้าแห้ง กิ่งไม้ใบไม้ และปุ๋ยพืชสด รวมทั้งเศษเหลือจากสัตว์ อินทรียวัตถุเหล่านี้จะไปช่วยทำให้คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของดินดีขึ้น ทำให้ดินร่วนซุยสามารถดูดซับน้ำได้มากขึ้น ส่วนจุลินทรีย์ในดินจะช่วยให้อินทรียวัตถุต่างๆ เหล่านี้สลายตัวเป็นธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์แก่พืชต่อไป
๒. การเพิ่มปุ๋ยพืชสด โดยการไถพรวนพืชสดๆ ทับลงไปในดิน ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มแร่ธาตุจากพืชสดเพื่อเป็นอาหารแก่ดิน
๓. การใช้ซากและเศษเหลือจากสัตว์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุต่างๆ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ซัลเฟอร์ เป็นต้น อันจะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ดีขึ้น
๔. การใช้ระบบการปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อช่วยให้ดินคงความอุดมสมบูรณ์อยู่ได้
๕. การใช้ปูนขาว เพื่อให้ธาตุแคลเซียมซึ่งเป็นอาหารชนิดหนึ่งที่จำเป็นต่อพืช และยังเป็นตัวช่วยลดความเป็นกรดและปรับปรุงคุณสมบัติอื่นๆ ของดินได้ดีอีกด้วย
๖. การรักษาธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ในดิน การรักษาธาตุไนโตรเจนในดิน ทำได้โดยการปลูกพืชตระกูลถั่วไว้คอยตรึงไนโตรเจนจากอากาศ และทำการไถพรวนเป็นปุ๋ยพืชสด อันจะช่วยเพิ่มไนโตรเจนให้แก่ดินได้อย่างดี ส่วนฟอสฟอรัส พืชมักจะใช้ในรูปของซูเปอร์ฟอสเฟต สำหรับโพแทสเซียมรักษาให้คงอยู่ได้ ด้วยการปลูกพืชให้ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ เพื่อป้องกันการชะล้าง และควรใช้ปุ๋ยที่ให้โพแทสเซียมโดยตรง
ดิน(Soil)
ดิน (Soil) คือ วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกอยู่บางๆ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร่ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีส่วนประกอบดังนี้
อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี
อินทรียวัตถุ (Organic matter) ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ที่ทับ ถมกัน มีอยู่ประมาณ
น้ำ ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate) หรืออนุภาคดิน (Particle)
อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ก๊าซส่วนใหญ่ที่พบทั่วไปในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาตรของแต่ละส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก โดยทั่วไปจะมีแร่ 45% อินทรียวัตถุ 5% น้ำ 25% และอากาศ 25%
กำเนิดดิน
ดินประกอบขึ้นจากหินที่ผุพัง จึงมีองค์ประกอบเป็นแร่ดินเหนียว (Clay mineral) ซึ่งพัฒนามาจากแร่ประกอบหินบนเปลือกโลก ได้แก่ เฟลด์สปาร์ ควอรตซ์ ไมก้า เป็นต้น การผุพังของแร่แต่ละชนิด ซึ่งทำให้เกิดแร่ดินเหนียวและประจุต่างๆ ซึ่งอยู่ในรูปของสารละลาย
การผุพังของแร่
แร่ CO2 และ H2O ผลิตผลหลัก ผลิตผลรอง
เฟลด์สปาร์ ---> แร่ดินเหนียว + ทราย, ประจุ (โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม)
ควอรตซ์ ---> ทราย
ไมก้า ---> แร่ดินเหนียว + ทราย, เหล็กออกไซด์, ประจุ (โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม)
แคลไซต์ ---> - -> ประจุ (แคลเซียม ไบคาร์บอเนต)
ดิน (Soil) คือ วัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลกอยู่บางๆ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร่ และอินทรียวัตถุผสมคลุกเคล้ากัน โดยมีส่วนประกอบดังนี้
อนินทรียวัตถุ (Mineral matter) ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในหินซึ่งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี
อินทรียวัตถุ (Organic matter) ได้แก่ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ที่ทับ ถมกัน มีอยู่ประมาณ
น้ำ ในสารละลายซึ่งพบอยู่ในช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate) หรืออนุภาคดิน (Particle)
อากาศ อยู่ในที่ว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน ก๊าซส่วนใหญ่ที่พบทั่วไปในดิน ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาตรของแต่ละส่วนประกอบของดินที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก โดยทั่วไปจะมีแร่ 45% อินทรียวัตถุ 5% น้ำ 25% และอากาศ 25%
กำเนิดดิน
ดินประกอบขึ้นจากหินที่ผุพัง จึงมีองค์ประกอบเป็นแร่ดินเหนียว (Clay mineral) ซึ่งพัฒนามาจากแร่ประกอบหินบนเปลือกโลก ได้แก่ เฟลด์สปาร์ ควอรตซ์ ไมก้า เป็นต้น การผุพังของแร่แต่ละชนิด ซึ่งทำให้เกิดแร่ดินเหนียวและประจุต่างๆ ซึ่งอยู่ในรูปของสารละลาย
การผุพังของแร่
แร่ CO2 และ H2O ผลิตผลหลัก ผลิตผลรอง
เฟลด์สปาร์ ---> แร่ดินเหนียว + ทราย, ประจุ (โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม)
ควอรตซ์ ---> ทราย
ไมก้า ---> แร่ดินเหนียว + ทราย, เหล็กออกไซด์, ประจุ (โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม)
แคลไซต์ ---> - -> ประจุ (แคลเซียม ไบคาร์บอเนต)
การผุพังของแร่เฟลด์สปาร์ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหินต้นกำเนิดดิน (Parent
rock) เมื่อฝนตกลงมา น้ำฝนจะละลายคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ
ทำให้มีสภาพเป็นกรดอ่อนๆ (กรดคาร์บอนิก)
น้ำฝนบนพื้นผิวซึมลงสู่เบื้องล่างและทำปฏิกิริยากับแร่เฟลด์สปาร์ที่อยู่ใน
หิน ทำให้เกิดการผุพังทางเคมี (Chemical weathering) แตกสลายเป็นเม็ดทราย
(ซิลิกา), แร่ดินเหนียว (Clay mineral), ประจุโซเดียม แคลเซียม
และโปแตสเซียม ในรูปของสารละลาย ซึ่งเป็นแร่ธาตุที่สำคัญสำหรับพืชต่อไป
ดิน เป็นตะกอนวัสดุบนเปลือกโลก ที่มีพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ บรรยากาศ น้ำ และสิ่งมีชีวิต เราจะเรียกตะกอนวัสดุเหล่านี้ว่า“ดิน” ก็ต่อเมื่อมีส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต เช่น ซากพืช ซากสัตว์ เข้ามาเกี่ยวข้อง หากเป็นแต่เพียงตะกอนวัสดุที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตก็จะเรียกว่า “เรโกลิธ” (Regolith) เช่น ผงตะกอนบนดวงจันทร์ ซึ่งเกิดจากการพุ่งชนของอุกกกาบาต แม้ว่าเราจะเห็นว่ามีดินอยู่โดยทั่วไป ทว่าความจริงดินมีอยู่น้อยมากเมื่อเทียบสัดส่วนปริมาณกับหินที่อยู่บนเปลือก โลก แต่กระนั้นดินก็มีความสำคัญมากสำหรับสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก ดินตรึงธาตุไนโตรเจนและคาร์บอนจากบรรยากาศมาสร้างธาตุอาหารที่สำคัญสำหรับ สิ่งมีชีวิต ในเวลาเดียวกันสิ่งมีชีวิตเองก็ทำให้หินผุพังกลายเป็นดิน จะเห็นได้ว่า ดิน สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลซึ่งกันและกันเป็นอย่างมาก
ดิน เป็นตะกอนวัสดุบนเปลือกโลก ที่มีพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ บรรยากาศ น้ำ และสิ่งมีชีวิต เราจะเรียกตะกอนวัสดุเหล่านี้ว่า“ดิน” ก็ต่อเมื่อมีส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต เช่น ซากพืช ซากสัตว์ เข้ามาเกี่ยวข้อง หากเป็นแต่เพียงตะกอนวัสดุที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตก็จะเรียกว่า “เรโกลิธ” (Regolith) เช่น ผงตะกอนบนดวงจันทร์ ซึ่งเกิดจากการพุ่งชนของอุกกกาบาต แม้ว่าเราจะเห็นว่ามีดินอยู่โดยทั่วไป ทว่าความจริงดินมีอยู่น้อยมากเมื่อเทียบสัดส่วนปริมาณกับหินที่อยู่บนเปลือก โลก แต่กระนั้นดินก็มีความสำคัญมากสำหรับสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก ดินตรึงธาตุไนโตรเจนและคาร์บอนจากบรรยากาศมาสร้างธาตุอาหารที่สำคัญสำหรับ สิ่งมีชีวิต ในเวลาเดียวกันสิ่งมีชีวิตเองก็ทำให้หินผุพังกลายเป็นดิน จะเห็นได้ว่า ดิน สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลซึ่งกันและกันเป็นอย่างมาก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อดิน
ดินมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา คุณสมบัติบางประการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น อุณหภูมิ และปริมาณน้ำ (ทุกนาที) ในขณะที่คุณสมบัติบางประการเปลี่ยนแปลงช้ามาก เช่น ชนิดของแร่ (อาจต้องใช้เวลาเป็นร้อยหรือพันปี) คุณสมบัติของดินจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. วัตถุต้นกำเนิดดิน ดินจะเป็นอย่างไรขึ้นกับวัตถุต้นกำเนิดดิน ได้แก่ หินพื้น (Parent rock) อินทรียวัตถุ ผิวดินดั้งเดิม หรือชั้นหินตะกอนที่เกิดจากการพัดพาของน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง ภูเขาไฟ หรือวัตถุที่เคลี่อนที่ลงมาจากพื้นที่ลาดชัน
2. สภาพภูมิอากาศ ความร้อน ฝน น้ำแข็ง หิมะ ลม แสงแดด และแรงกระทบจากสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งทำให้วัตถุต้นกำเนิดผุพัง แตกหัก และมีผลต่อกระบวนการเกิดดินว่า จะเกิดเร็วหรือช้า
3. สิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์ทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในดินหรือบนดิน (รวมถึงจุลินทรีย์ และมนุษย์) ปริมาณน้ำและธาตุอาหารที่พืชต้องการมีผลต่อการเกิดดิน สัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินจะช่วยย่อยสลายของเสียและช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ ไปตามหน้าตัดดิน ซากพืชและสัตว์ที่ตายแล้วจะกลายเป็นอินทรียวัตถุ ซึ่งทำให้ดินสมบูรณ์ขึ้น การใช้ที่ดินของมนุษย์ก็มีผลต่อการสร้างดินด้วยเช่นกัน
4. ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศจะมีผลต่อดินอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดินตามลักษณะภูมิประเทศเช่น ดินที่เชิงเขาจะมีความชื้นมากกว่าดินในบริเวณพื้นที่ลาด และพื้นที่ที่ได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงจะทำให้ดินแห้งเร็วขึ้น
5. เวลา ปัจจัยข้างต้นทั้งหมดเกี่ยวข้องกับเวลาเนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไปการพัฒนาของชั้นดินจะเพิ่มขึ้น
ดินมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา คุณสมบัติบางประการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น อุณหภูมิ และปริมาณน้ำ (ทุกนาที) ในขณะที่คุณสมบัติบางประการเปลี่ยนแปลงช้ามาก เช่น ชนิดของแร่ (อาจต้องใช้เวลาเป็นร้อยหรือพันปี) คุณสมบัติของดินจะเป็นอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. วัตถุต้นกำเนิดดิน ดินจะเป็นอย่างไรขึ้นกับวัตถุต้นกำเนิดดิน ได้แก่ หินพื้น (Parent rock) อินทรียวัตถุ ผิวดินดั้งเดิม หรือชั้นหินตะกอนที่เกิดจากการพัดพาของน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง ภูเขาไฟ หรือวัตถุที่เคลี่อนที่ลงมาจากพื้นที่ลาดชัน
2. สภาพภูมิอากาศ ความร้อน ฝน น้ำแข็ง หิมะ ลม แสงแดด และแรงกระทบจากสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งทำให้วัตถุต้นกำเนิดผุพัง แตกหัก และมีผลต่อกระบวนการเกิดดินว่า จะเกิดเร็วหรือช้า
3. สิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์ทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในดินหรือบนดิน (รวมถึงจุลินทรีย์ และมนุษย์) ปริมาณน้ำและธาตุอาหารที่พืชต้องการมีผลต่อการเกิดดิน สัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินจะช่วยย่อยสลายของเสียและช่วยเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ ไปตามหน้าตัดดิน ซากพืชและสัตว์ที่ตายแล้วจะกลายเป็นอินทรียวัตถุ ซึ่งทำให้ดินสมบูรณ์ขึ้น การใช้ที่ดินของมนุษย์ก็มีผลต่อการสร้างดินด้วยเช่นกัน
4. ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศจะมีผลต่อดินอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดินตามลักษณะภูมิประเทศเช่น ดินที่เชิงเขาจะมีความชื้นมากกว่าดินในบริเวณพื้นที่ลาด และพื้นที่ที่ได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงจะทำให้ดินแห้งเร็วขึ้น
5. เวลา ปัจจัยข้างต้นทั้งหมดเกี่ยวข้องกับเวลาเนื่องจากเมื่อเวลาผ่านไปการพัฒนาของชั้นดินจะเพิ่มขึ้น
สมบัติของดินที่เปลี่ยนไปตามเวลา
คาบเวลา นาที ชั่วโมง วัน คาบเวลา เดือน ปี คาบเวลา ร้อยปี พันปี หมื่นปี
อุณหภูมิ ปฏิกิริยาของดิน ชนิดของหินแร่
ปริมาณความชื้น สีของดิน การกระจายของขนาดอนุภาคดิน
ช่องว่างของในดิน โครงสร้างของดิน การสร้างชั้นดิน
ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
จุลินทรีย์ดิน
ความหนาแน่น
คาบเวลา นาที ชั่วโมง วัน คาบเวลา เดือน ปี คาบเวลา ร้อยปี พันปี หมื่นปี
อุณหภูมิ ปฏิกิริยาของดิน ชนิดของหินแร่
ปริมาณความชื้น สีของดิน การกระจายของขนาดอนุภาคดิน
ช่องว่างของในดิน โครงสร้างของดิน การสร้างชั้นดิน
ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
จุลินทรีย์ดิน
ความหนาแน่น
หน้าตัดดิน
ปัจจัยต่างๆ ของการกำเนิดดิน ทำให้ได้ดินที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างมาก ดินในภูมิประเทศหนึ่งๆ จะมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เราเรียกภาคตัดตามแนวดิ่งของชั้นดินเรียกว่า “หน้าตัดดิน” (Soil Horizon) หน้าตัดดินบอกถึงลักษณะทางธรณีวิทยา และประวัติภูมิอากาศของภูมิประเทศที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้นับพันปี รวมถึงว่ามนุษย์ใช้ดินอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุให้ดินนั้นมีสมบัติเช่นในปัจจุบัน ตลอดจนแนวทางที่ดีที่สุดในการใช้ดิน
ชั้นดิน
หน้าตัดดินประกอบด้วยดินที่ทับถมกันเป็นชั้นๆ เรียกว่า “ชั้นดิน” (Soil horizon) ชั้นดินบางชั้นอาจจะบางเพียง 2-3 มิลลิเมตร หรือหนากว่า 1 เมตร ก็ได้ เราสามารถจำแนกชั้นดินแต่ละชั้นจากสี และโครงสร้างของอนุภาคดินที่แตกต่างกัน นอกจากนั้นยังสามารถใช้คุณสมบัติอื่นๆ ที่แตกต่างกันระหว่างดินชั้นบนและดินชั้นล่างได้อีกด้วย ดินบางชั้นเกิดจากการพังทลายและถูกชะล้างโดยกระแสน้ำ ดินบางชั้นเกิดจากตะกอนทับถมกันนานหลายพันปี นักปฐพีวิทยากำหนดชื่อของชั้นดินโดยใช้ลักษณะทางกายภาพ ดังนี้
ชั้นโอ (O Horizon) เป็นดินชั้นบนสุดมักมีสีคล้ำเนื่องจากประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic) หรือ ฮิวมัส ซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งทำให้เกิดความเป็นกรด ดินชั้นโอส่วนใหญ่จะพบในพื้นที่ป่า ส่วนในพื้นที่การเกษตรจะไม่มีชั้นโอในหน้าตัดดิน เนื่องจากถูกไถพรวนไปหมด
ชั้นเอ (A Horizon) เป็นดินชั้นบน (Top soil) เป็นส่วนที่มีน้ำซึมผ่าน ดินชั้นเอส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินแร่และอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายสมบูรณ์ แล้วอยู่ด้วย ทำให้ดินมีสีเข้ม ในพื้นที่เกษตรกรรมดินชั้นเอจะถูกไถพรวน เมื่อมีการย่อยสลายของรากพืชและมีการสะสมอินทรียวัตถุ โดยปกติโครงสร้างของดินจะเป็นแบบก้อนกลม แต่ถ้าดินมีการอัดตัวกันแน่น โครงสร้างของดินในชั้นเอจะเป็นแบบแผ่น
ชั้นบี (B Horizon) เป็นชั้นดินล่าง (subsoil) เนื้อดินและโครงสร้างเป็นแบบก้อนเหลี่ยม หรือแท่งผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุต่างๆ ของสารละลายต่างๆ เคลื่อนตัวผ่านชั้นเอ ลงมามาสะสมในชั้นบี ในเขตภูมิอากาศชื้น ดินในชั้นบีส่วนใหญ่จะมีสีน้ำตาลปนแดง เนื่องจากการสะสมตัวของเหล็กออกไซด์
ชั้นซี (C Horizon) เกิดจากการผุพังของหินกำเนิดดิน (Parent rock) ไม่มีการตกตะกอนของวัสดุดินจากการชะล้าง และไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ
ชั้นอาร์ (R Horizon) เป็นชั้นของวัตถุต้นกำเนิดดิน หรือ หินพื้น (Bedrock)
เนื้อดิน (Soil Texture)
เนื้อดิน หมายถึง องค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน เราจะสังเกตได้ว่า ดินในแต่ละสถานที่มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากดินประกอบขึ้นจากของอนุภาคตะกอนหลาย ๆ ขนาด อนุภาคที่ใหญ่ที่สุดคืออนุภาคทราย (Sand) อนุภาคขนาดรองลงมาคือ อนุภาคทรายแป้ง (Silt) และอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ อนุภาคดินเหนียว (Clay)
อนุภาคของดิน
ดินมีหลายชนิด เช่น ดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว ขึ้นอยู่กับขนาดอนุภาคของตะกอนที่ผสมกันเป็นดิน อาทิเช่น ดินทรายมีเนื้อหยาบ เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคขนาดใหญ่เช่นเม็ดทรายซึ่งมีขนาดใหญ่ จึงมีช่องว่างให้น้ำซึมผ่านอย่างรวดเร็ว ดินเหนียวมีเนื้อละเอียดมาก เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมาก จึงไม่มีน้ำช่องว่างให้น้ำซึมผ่าน ส่วนดินร่วนมีส่วนผสมเป็นอนุภาคขนาดปานกลางเช่น ทรายแป้ง เป็นส่วนใหญ่ จึงมีความเหมาะสมในการปลูกพืชส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำซึมผ่านได้ไม่รวดเร็วจนเกินไป สามารถเก็บกับความชื้นได้ดี
นักปฐพีวิทยาแบ่งดินออกเป็น 12 ชนิด โดยการศึกษาสัดส่วนการกระจายอนุภาคของดินตามรูปที่ 6 เช่น
ดินทรายร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 80%, อนุภาคทรายแป้ง 10%, อนุภาคดินเหนียว 10%
ดินร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 40%, อนุภาคทรายแป้ง 40%, อนุภาคดินเหนียว 20%
ดินเหนียวประกอบด้วยอนุภาคทราย 20%, อนุภาคทรายแป้ง 20%, อนุภาคดินเหนียว 60%
การ จำแนกดินช่วยให้เราเข้าใจถึงคุณสมบัติของดินประเภทต่างๆ ได้แก่ ความสามารถในการกักเก็บน้ำ และการถ่ายเทพลังงานความร้อนซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรมและวิศวกรรม เป็นต้น
ปัจจัยต่างๆ ของการกำเนิดดิน ทำให้ได้ดินที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างมาก ดินในภูมิประเทศหนึ่งๆ จะมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เราเรียกภาคตัดตามแนวดิ่งของชั้นดินเรียกว่า “หน้าตัดดิน” (Soil Horizon) หน้าตัดดินบอกถึงลักษณะทางธรณีวิทยา และประวัติภูมิอากาศของภูมิประเทศที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้นับพันปี รวมถึงว่ามนุษย์ใช้ดินอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุให้ดินนั้นมีสมบัติเช่นในปัจจุบัน ตลอดจนแนวทางที่ดีที่สุดในการใช้ดิน
ชั้นดิน
หน้าตัดดินประกอบด้วยดินที่ทับถมกันเป็นชั้นๆ เรียกว่า “ชั้นดิน” (Soil horizon) ชั้นดินบางชั้นอาจจะบางเพียง 2-3 มิลลิเมตร หรือหนากว่า 1 เมตร ก็ได้ เราสามารถจำแนกชั้นดินแต่ละชั้นจากสี และโครงสร้างของอนุภาคดินที่แตกต่างกัน นอกจากนั้นยังสามารถใช้คุณสมบัติอื่นๆ ที่แตกต่างกันระหว่างดินชั้นบนและดินชั้นล่างได้อีกด้วย ดินบางชั้นเกิดจากการพังทลายและถูกชะล้างโดยกระแสน้ำ ดินบางชั้นเกิดจากตะกอนทับถมกันนานหลายพันปี นักปฐพีวิทยากำหนดชื่อของชั้นดินโดยใช้ลักษณะทางกายภาพ ดังนี้
ชั้นโอ (O Horizon) เป็นดินชั้นบนสุดมักมีสีคล้ำเนื่องจากประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic) หรือ ฮิวมัส ซึ่งเป็นซากพืชซากสัตว์ ซึ่งทำให้เกิดความเป็นกรด ดินชั้นโอส่วนใหญ่จะพบในพื้นที่ป่า ส่วนในพื้นที่การเกษตรจะไม่มีชั้นโอในหน้าตัดดิน เนื่องจากถูกไถพรวนไปหมด
ชั้นเอ (A Horizon) เป็นดินชั้นบน (Top soil) เป็นส่วนที่มีน้ำซึมผ่าน ดินชั้นเอส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินแร่และอินทรียวัตถุที่ย่อยสลายสมบูรณ์ แล้วอยู่ด้วย ทำให้ดินมีสีเข้ม ในพื้นที่เกษตรกรรมดินชั้นเอจะถูกไถพรวน เมื่อมีการย่อยสลายของรากพืชและมีการสะสมอินทรียวัตถุ โดยปกติโครงสร้างของดินจะเป็นแบบก้อนกลม แต่ถ้าดินมีการอัดตัวกันแน่น โครงสร้างของดินในชั้นเอจะเป็นแบบแผ่น
ชั้นบี (B Horizon) เป็นชั้นดินล่าง (subsoil) เนื้อดินและโครงสร้างเป็นแบบก้อนเหลี่ยม หรือแท่งผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุต่างๆ ของสารละลายต่างๆ เคลื่อนตัวผ่านชั้นเอ ลงมามาสะสมในชั้นบี ในเขตภูมิอากาศชื้น ดินในชั้นบีส่วนใหญ่จะมีสีน้ำตาลปนแดง เนื่องจากการสะสมตัวของเหล็กออกไซด์
ชั้นซี (C Horizon) เกิดจากการผุพังของหินกำเนิดดิน (Parent rock) ไม่มีการตกตะกอนของวัสดุดินจากการชะล้าง และไม่มีการสะสมของอินทรียวัตถุ
ชั้นอาร์ (R Horizon) เป็นชั้นของวัตถุต้นกำเนิดดิน หรือ หินพื้น (Bedrock)
เนื้อดิน (Soil Texture)
เนื้อดิน หมายถึง องค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน เราจะสังเกตได้ว่า ดินในแต่ละสถานที่มีลักษณะแตกต่างกัน เนื่องจากดินประกอบขึ้นจากของอนุภาคตะกอนหลาย ๆ ขนาด อนุภาคที่ใหญ่ที่สุดคืออนุภาคทราย (Sand) อนุภาคขนาดรองลงมาคือ อนุภาคทรายแป้ง (Silt) และอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ อนุภาคดินเหนียว (Clay)
อนุภาคของดิน
ดินมีหลายชนิด เช่น ดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว ขึ้นอยู่กับขนาดอนุภาคของตะกอนที่ผสมกันเป็นดิน อาทิเช่น ดินทรายมีเนื้อหยาบ เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคขนาดใหญ่เช่นเม็ดทรายซึ่งมีขนาดใหญ่ จึงมีช่องว่างให้น้ำซึมผ่านอย่างรวดเร็ว ดินเหนียวมีเนื้อละเอียดมาก เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กมาก จึงไม่มีน้ำช่องว่างให้น้ำซึมผ่าน ส่วนดินร่วนมีส่วนผสมเป็นอนุภาคขนาดปานกลางเช่น ทรายแป้ง เป็นส่วนใหญ่ จึงมีความเหมาะสมในการปลูกพืชส่วนใหญ่ เนื่องจากน้ำซึมผ่านได้ไม่รวดเร็วจนเกินไป สามารถเก็บกับความชื้นได้ดี
นักปฐพีวิทยาแบ่งดินออกเป็น 12 ชนิด โดยการศึกษาสัดส่วนการกระจายอนุภาคของดินตามรูปที่ 6 เช่น
ดินทรายร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 80%, อนุภาคทรายแป้ง 10%, อนุภาคดินเหนียว 10%
ดินร่วนประกอบด้วยอนุภาคทราย 40%, อนุภาคทรายแป้ง 40%, อนุภาคดินเหนียว 20%
ดินเหนียวประกอบด้วยอนุภาคทราย 20%, อนุภาคทรายแป้ง 20%, อนุภาคดินเหนียว 60%
การ จำแนกดินช่วยให้เราเข้าใจถึงคุณสมบัติของดินประเภทต่างๆ ได้แก่ ความสามารถในการกักเก็บน้ำ และการถ่ายเทพลังงานความร้อนซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรมและวิศวกรรม เป็นต้น
สัดส่วนการกระจายตัวของอนุภาคดิน
โครงสร้างดิน (Soil Structure)
โครงสร้างดิน หมายถึง รูปแบบของการยึดและการเรียงตัวของอนุภาคเดี่ยวของดินเป็นเม็ดดินในหน้าตัด ดิน เม็ดดินแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งด้านขนาดและรูปร่าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชนิดคือ
แบบก้อนกลม (Granular ) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม เม็ดดินมีขนาดเล็กประมาณ 1 - 10 มิลลิเมตร มักพบในดินชั้น A มีรากพืชปนอยู่มาก เนื้อดินมีความพรุนมาก จึงระบายน้ำและอากาศได้ดี
แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) มีรูปร่างคล้ายกล่อง เม็ดดินมีขนาดประมาณ 1-5 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B มีการกระจายของรากพืชปานกลาง น้ำและอากาศซึมผ่านได้
แบบแผ่น (Platy) ก้อนดินแบนวางตัวในแนวราบ และซ้อนเหลื่อมกันเป็นชั้น ขัดขวากรากพืช น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก มักเป็นดินชั้น A ที่ถูกบีบอัดจากการบดไถของเครื่องจักรกลการเกษตร
แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) ก้อนดินแต่ละก้อนมีผิวหน้าแบบและเรียบ เกาะตัวกันเป็นแท่งหัวเหลี่ยมคล้ายปริซึม ก้อนดินมีลักษณะยาวในแนวดิ่ง ส่วนบนของปลายแท่งมักมีรูปร่างแบน เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B น้ำและอากาศซึมได้ปานกลาง
แบบแท่งหัวมน (Columnar) มีการจับตัวคล้ายคลึงกับแบบแท่งหัวเหลี่ยม แต่ส่วนบนของปลายแท่งมีลักษณะกลมมน ปกคลุมด้วยเกลือ เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B และเกิดในเขตแห้งแล้ง น้ำและอากาศซึมผ่านได้น้อย และมีการสะสมของโซเดียมสูง
แบบก้อนทึบ (Massive) เป็นดินเนื้อละเอียดยึดตัวติดกันเป็นก้อนใหญ่ ขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร ดินไม่แตกตัวเป็นเม็ด จึงทำให้น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก
แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained) ไม่มีการยึดตัวติดกันเป็นก้อน มักพบในดินทราย ซึ่งน้ำและอากาศซึมผ่านได้ดี
แหล่งที่มาของข้อมูล : http://www.lesa.in.th/index.html
ผ.กรรมวิธีข้อมูล บก.ฐท.สส. โทร.71024 | sonthaya.mu@navy.mi.th
โครงสร้างดิน (Soil Structure)
โครงสร้างดิน หมายถึง รูปแบบของการยึดและการเรียงตัวของอนุภาคเดี่ยวของดินเป็นเม็ดดินในหน้าตัด ดิน เม็ดดินแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้งด้านขนาดและรูปร่าง ซึ่งแบ่งออกเป็น 7 ชนิดคือ
แบบก้อนกลม (Granular ) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม เม็ดดินมีขนาดเล็กประมาณ 1 - 10 มิลลิเมตร มักพบในดินชั้น A มีรากพืชปนอยู่มาก เนื้อดินมีความพรุนมาก จึงระบายน้ำและอากาศได้ดี
แบบก้อนเหลี่ยม (Blocky) มีรูปร่างคล้ายกล่อง เม็ดดินมีขนาดประมาณ 1-5 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B มีการกระจายของรากพืชปานกลาง น้ำและอากาศซึมผ่านได้
แบบแผ่น (Platy) ก้อนดินแบนวางตัวในแนวราบ และซ้อนเหลื่อมกันเป็นชั้น ขัดขวากรากพืช น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก มักเป็นดินชั้น A ที่ถูกบีบอัดจากการบดไถของเครื่องจักรกลการเกษตร
แบบแท่งหัวเหลี่ยม (Prismatic) ก้อนดินแต่ละก้อนมีผิวหน้าแบบและเรียบ เกาะตัวกันเป็นแท่งหัวเหลี่ยมคล้ายปริซึม ก้อนดินมีลักษณะยาวในแนวดิ่ง ส่วนบนของปลายแท่งมักมีรูปร่างแบน เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B น้ำและอากาศซึมได้ปานกลาง
แบบแท่งหัวมน (Columnar) มีการจับตัวคล้ายคลึงกับแบบแท่งหัวเหลี่ยม แต่ส่วนบนของปลายแท่งมีลักษณะกลมมน ปกคลุมด้วยเกลือ เม็ดดินมีขนาด 1 - 10 เซนติเมตร มักพบในดินชั้น B และเกิดในเขตแห้งแล้ง น้ำและอากาศซึมผ่านได้น้อย และมีการสะสมของโซเดียมสูง
แบบก้อนทึบ (Massive) เป็นดินเนื้อละเอียดยึดตัวติดกันเป็นก้อนใหญ่ ขนาดประมาณ 30 เซนติเมตร ดินไม่แตกตัวเป็นเม็ด จึงทำให้น้ำและอากาศซึมผ่านได้ยาก
แบบอนุภาคเดี่ยว (Single Grained) ไม่มีการยึดตัวติดกันเป็นก้อน มักพบในดินทราย ซึ่งน้ำและอากาศซึมผ่านได้ดี
แหล่งที่มาของข้อมูล : http://www.lesa.in.th/index.html
ผ.กรรมวิธีข้อมูล บก.ฐท.สส. โทร.71024 | sonthaya.mu@navy.mi.th
ประโยชน์ของดินเหนียว
■ด้านการเกษตร
■เหมาะสำหรับการทำนา ปลูกข้าว แต่ไม่เหมาะสำหรับพืชชนิดอื่น
■ด้านศิลปะ
■ใช้ในการทำเครื่องปั้นดินเผา ทำภาชนะ เครื่องใช้ต่าง ๆ
■ใช้ขึ้นรูปในงานปั้น สร้างผลงานทางด้านประติมากรรม
■ด้านวิศวกรรม
■ใช้เป็นส่วนประกอบในการทำอิฐ
■ใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง แกนดินเหนียวสำหรับเขื่อนดิน และเขื่อนหินทิ้ง
■ใช้เป็นวัสดุดิบในการผลิตเซรามิก เพื่อใช้ในงานวิศวกรรมและอุตสาหกรรม
เหล็กไหลใหญ่ที่สุดในโลก
สำรวจพบ
จากGoogle earth
เปิดโทรศัพท์มือถืออยู่แล้ววิ่งเข้ามาได้พิกัดโดยบังเอิญ
ส่วนก้วาง ประมาณ 760 เมตร ส่วนย้อยประมาณ 500 เมตรเศษ ผู้สำรวจพบ นายฐสิงห์ธนชาติ มากตะคุ เมื่อปี พ.ศ.2551 เป็นเหล็กไหลน้ำหนึ่งยังมีชีวิตสีปีกแมลงทับ
ขณะนี้เป็นน้ำแข็งปกคลุมมองไม่เห็นแล้วทำเส้นทางไว้ทราบตำแหน่งชัดเจนอยู่ในประเทศเนปาล
แผ่นดินอินเดียชนกับแผ่นดินยูเรเซียใกล้เทือกเขาฮิมาลัย
วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)